permaswap.exchange

permaswap.exchange

ตํา รา ยา แผน โบราณ

  1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุตำรายา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562
  2. ตำรับตำรายาไทย | Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ
  3. การปรุงยาสมุนไพร - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ
  4. ตํารายาแผนโบราณ

2561 ที่มา: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา ราชกิจจานุเบกษา มาเพิ่มเป็นเพื่อนกัน เพื่อรับข่าวสารทางไลน์จาก DMSIC MoPH:) วันที่ประกาศข่าว: 26 ก. ค. 2562 - จำนวนผู้เข้าชม 9881 View ชั้น 5 อาคาร 3 กองบริหารการสาธารณสุข ตึกสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ถนนติวานนท์ อ. เมือง จ. นนทบุรี 11000 © 2019 ศูนย์ข้อมูลข่าวสารด้านเวชภัณฑ์ กระทรวงสาธารณสุข All Rights Reserved.

ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุตำรายา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562

ตำรับตำรายาไทย | Hfocus.org เจาะลึกระบบสุขภาพ

  • Death Note สมุดโน๊ตกระชากวิญญาณ พากย์ไทย EP1 - EP37 [จบ] - Page 2 of 37 - การ์ตูนออนไลน์ การ์ตูนอนิเมะ
  • เพลง baby finger
  • แยกวังสารภี (Wang Saraphi Intersection) - 11 tips
  • ราคารถยนต์ Land Rover (แลนด์โรเวอร์) 2017-2018 - iAMCAR | ราคารถใหม่, โปรโมรชั่น, ตารางผ่อนรถยนต์ ทุกยี่ห้อ
  • ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง ระบุตำรายา (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2562
  • สั่ง casetify โดนภาษี กี่ บาท
  • ลูกไม้หล่นไม่ไกลต้น ภาษาอังกฤษว่าอย่างไร ?
  • กางเกง ไฟ ฮ อก ซ์
  • Destination address of split tunneling policy is invalid
  • ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย - ศูนย์รับฝากหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย
  • ความ หมาย ของ กาแฟ cold brew
  • Intake air grille ราคา 1

การปรุงยาสมุนไพร - สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนฯ

หากใครได้ดูละคร " ทองเอก หมอยา ท่าโฉลง " จะพบว่ามีการให้ความรู้เกี่ยวกับสมุนไพรไทยมากมายนับไม่ถ้วน Sanook!

ตํารายาแผนโบราณ

การทำความสะอาดตัวยา หรือการล้างยา เช่น การทำความสะอาดเหง้าขิง เหง้าข่า ๒. การใช้ปริมาณยาหลักเท่ากับยาทั้งหลาย เช่น ยาประสะกะเพรา มีกะเพราเป็นหลัก และตัวยาอื่นๆ อีก ๖ ชนิด การปรุงจะใช้กะเพรา ๖ ส่วน ตัวยาอื่นๆ อย่างละ ๑ ส่วน รวม ๖ ส่วนเท่ากะเพรา ๓. การทำให้พิษหรือสิ่งที่ไม่ต้องการของตัวยาอ่อนลง โดยที่ตัวยาที่ต้องการคงสภาพเดิม เช่น ประสะมหาหิงคุ์ หมายถึงการทำให้กลิ่นเหม็นของมหาหิงคุ์ลดลง โดยใช้น้ำใบกะเพราต้มเดือดมาละลายมหาหิงคุ์ ใบเพสลาด หมายถึง ใบไม้ที่จวนแก่ กำหนดอายุของยา จะเห็นว่าการปรุงยาไทย มักใช้สมุนไพรหลายชนิด และใช้วิธีการต่างๆ ตามความเหมาะสม เพื่อให้ได้ผลในการรักษา และคำนึงถึงความปลอดภัยไปพร้อมกัน จึงกำหนดอายุของยาไว้ด้วย ดังนี้ ๑. ยาผงที่ผสมด้วยใบไม้ล้วนๆ มีอายุได้ ประมาณ ๓-๖ เดือน ๒. ยาผงที่ผสมด้วยแก่นไม้ล้วนๆ มีอายุ ได้ระหว่าง ๖-๘ เดือน ๓. ยาผงที่ผสมด้วยใบไม้และแก่นไม้อย่าง ละเท่ากัน มีอายุได้ประมาณ ๕-๖ เดือน แมงลัก ใช้เมล็ดเป็นยาระบาย ใช้ใบเป็นยาขับลม อายุของยาที่เป็นเม็ดเป็นแท่ง หรือลูกกลอน มีกำหนดอายุไว้ดังนี้ ๑. ยาเม็ดที่ผสมด้วยใบไม้ล้วนๆ มีอายุ ประมาณ ๖-๘ เดือน ๒. ยาเม็ดที่ผสมด้วยแก่นไม้ล้วนๆ มีอายุ ประมาณ ๑ ปี ๓.

พิจารณาสรรพคุณยา ว่ามีสรรพคุณตรงตามอาการ ที่ต้องการนําไปรักษาหรือไม่ แต่ละตัวยามีฤทธิ์ขัดกันหรือไม่ 2. พิจารณาขนาดของยา ว่าต้องใช้ปริมาณเท่าใดจึงจะ เหมาะสมกับโรค หรือถูกต้องตามตํารับหรือใบสั่งแพทย์ 3.

ศ. 2466 ว่า "มีตำราพระโอสถซึ่งหมอหลวงได้ประกอบถวายสมเด็จพระนารายณ์มหาราชหลายขนาน ปรากฏชื่อหมอแลวันคืนที่ได้ตั้งพระโอสถนั้นๆ จดไว้ชัดเจน อยู่ในระหว่างปีกุน จุลศักราช 1021 (พ. 2202)จนถึงปีฉลู จุลศักราช 1023 (พ.

๘. ตะแกรงตากยา เป็นภาชนะทำด้วยไม้ไผ่สาน ต่อมาได้ปรับปรุงเป็นถาดโลหะเคลือบ หรืออะลูมิเนียม ตะแกรงตากยา ๙. พิมพ์อัดเปียก เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการทำยาเม็ด ทำด้วยทองเหลือง มีขนาดต่างๆ กัน ใช้สำหรับทำยาเม็ดที่ใช้น้ำในการผสม ถ้ายาเม็ดผสมน้ำผึ้งอาจจะใช้รางยา ซึ่งเป็นเครื่องมือทำยาจีน แทนการปั้นเป็นเม็ดด้วยมือ พิมพ์อัดเปียก วิธีเก็บเกี่ยวสมุนไพร การปรุงยาให้มีคุณภาพนั้น นอกจากจะต้องรู้หลัก และวิธีการปรุงยาแล้ว จะต้องรู้วิธีเก็บเกี่ยวสมุนไพรอีกด้วย ตำราแพทย์ไทยจึงได้กำหนดวิธีการเก็บไว้ ๔ อย่างคือ เก็บตามฤดู เก็บตามทิศทั้งสี่ เก็บตามวันและเวลา และเก็บตามยาม และได้อธิบายวิธีเก็บไว้ดังนี้ ๑. เก็บตามฤดู มีดังนี้ ๑. ๑ คิมหันตฤดู (ฤดูร้อน) เก็บราก และแก่น ๑. ๒ วสันตฤดู (ฤดูฝน) เก็บใบ ลูก และดอก ๑. ๓ เหมันตฤดู (ฤดูหนาว) เก็บเปลือก กระพี้ และเนื้อไม้ ๒. เก็บตามทิศทั้งสี่ ได้แก่ ๒. ๑ วันอาทิตย์ และวันอังคาร เก็บ ทางทิศตะวันออก ๒. ๒ วันพุธ และวันศุกร์ เก็บทางทิศ ใต้ ๒. ๓ วันจันทร์ และวันเสาร์ เก็บทาง ทิศตะวันตก ๒. ๔ วันพฤหัสบดี เก็บทางทิศเหนือ การเก็บสมุนไพรตามทิศนี้ให้ถือตัวผู้ เก็บเกี่ยวเป็นศูนย์กลาง ๓.

  1. ป โท เอแบค
  2. รับซื้อกระชายดํา