permaswap.exchange

permaswap.exchange

ฟัน คุด ดัน ฟัน กราม

  1. เมื่อคุณฟันคุดจะทำอย่างไร – คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
  2. ฟันคุด มีกี่แบบ?? - FunDeeDee
  3. รีวิวถอนฟันคุด ที่ Deezy Dental Home | HDmall
  4. ฟันคุดดันฟันกราม
  5. สิ่งที่เราควรรู้ก่อนที่จะถอนฟันกราม - BPDC

ถ้าไม่ปวด ฟันคุดผ่าควรผ่าออกหรือไม่? เมื่อพูดถึงการผ่าฟันคุด คงเป็นเรื่องที่หลายคนหวาดกลัวและขยาดไม่ใช่น้อย ถ้าเลือกได้ ก็คงไม่มีใครอยากเจ็บตัวกันหรอกจริงไหมคะ หลายครั้ง ฟันคุดก็ทำให้เราเลือกไม่ได้นี่สิ ปวดแสนปวดจนต้องไปผ่าออก แต่ในบางคนกลับไม่มีอาการอะไรเลย แบบนี้แล้ว ไม่ปวด ไม่ผ่าได้หรือเปล่า? ไว้รอปวดก่อนค่อยไปผ่าจะดีไหม?

เมื่อคุณฟันคุดจะทำอย่างไร – คณะทันตแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล

หลายคนอาจสงสัยถ้าไม่จัดฟันต้องผ่าเอาฟันออกหรือไม่ ถ้าไม่ปวด หรืออายุมากแล้วไม่ปวดยังต้องเอาออกอยู่หรือเปล่า แล้วทำไมคนสมัยก่อนไม่เห็นต้องผ่าฟันคุด คนสมัยก่อนทานอาหารพวกเนื้อสัตว์ อาหารที่มีเส้นใย ทำให้ขากรรไกรมีการเจริญเติบโตฟันกรามซี่ที่ 3 ที่ขึ้นเป็นซี่สุดท้ายในช่วงอายุ 17 - 18 ปี จึงมีที่ให้ขึ้นได้อย่างสมบูรณ์ แต่เด็กสมัยนี้ทานอาหารอ่อน หรือฟาสต์ฟู๊ดทำให้ขากรรไกรเจริญเติบโตได้ไม่เต็มที่ ฟันกรามซี่ที่ 3 จึงไม่มีที่ให้ขึ้นได้ตรงจึงขึ้นเบียดกับซี่ข้างๆ สำหรับสาเหตุที่เราต้องผ่าฟันคุดออก แบ่งได้หลักๆ เป็น 8 ข้อ คือ 1. เพื่อป้องกันอาการปวดจากการที่ฟันกรามซี่ที่ 3 ขึ้นไม่ได้เนื่องจากเบียดฟันซี่ข้างๆ อยู่ หรือติดกระดูกเรมัส ทำให้เกิดแรงดันบริเวณขากรรไกรขึ้น บางรายที่รากฟันคุดยาวไปกดหรือเกี่ยวคลองประสาท และเส้นเลือดที่อยู่ในขากรรไกร ทำให้เกิดอันตรายต่อเส้นประสาท และเส้นเลือดนั้นได้ หากไม่รีบเอาออก หรือทิ้งไว้นาน หรือในฟันคุดบนถ้าทิ้งไว้นานโพรงไซนัสย้อยต่ำลงมา การผ่าฟันคุดออกอาจทำให้เกิดรอยทะลุระหว่างช่องปาก และโพรงไซนัสได้ 2. เพื่อป้องกันการอักเสบของเหงือกที่ปกคลุมฟัน เพราะจะมีเศษอาหารเข้าไปติดอยู่ใต้เหงือกนั้นแล้วไม่สามารถทำความสะอาดได้ เชื้อแบคทีเรียที่มาสะสมอยู่จะทำให้เหงือกอักเสบ ปวด และบวมเป็นหนองมีกลิ่นมาก ถ้าทิ้งไว้การอักเสบจะลุกลามไปใต้คางหรือใต้ลิ้น ซึ่งจะทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปยังส่วนอื่นๆ ของร่างกายได้ง่าย นับว่าเป็นอันตรายอย่างยิ่ง บางรายถ้าเหงือกอักเสบมาก และฟันคู่สบงอกยาวลงมากัดโดนเหงือก จะยิ่งทำให้อาการปวดรุนแรงมาก 3.

ช่วยป้องกันการอักเสบของเหงือกที่ปกคลุมฟัน หากมีเศษอาหารเข้าไปติดอยู่ใต้เหงือก แล้วไม่สามารถทำความสะอาดได้ เชื้อแบคทีเรียที่มาสะสมอยู่จะทำให้เหงือกอักเสบ ปวดและบวมเป็นหนอง ถ้าทิ้งไว้การอักเสบจะลุกลามไปใต้คาง หรือใต้ลิ้น ซึ่งจะทำให้เกิดการแพร่กระจายของเชื้อโรคไปยังส่วนอื่น ๆ ของร่างกายได้ง่าย บางรายถ้าเหงือกอักเสบมากและฟันคู่สบงอกยาวลงมากัดโดนเหงือก จะยิ่งทำให้อาการปวดฟันรุนแรงมาก 2. ช่วยป้องกันฟันผุ เนื่องจากซอกฟันระหว่างฟันคุดกับฟันกรามซี่ที่สองที่อยู่ชิดกัน เป็นส่วนที่ทำความสะอาดได้ยาก เศษอาหารจะติดค้างอยู่ซึ่งอาจทำให้เกิดฟันผุได้กับฟันทั้งสองซี่นี้ 3. ช่วยป้องกันอาการปวดฟัน แรงดันจากฟันคุดที่พยายามดันขึ้นมาจะก่อให้เกิดอาการปวดฟันกรามซี่ที่ 3 หรือในบางคนอาจมีรากฟันคุดที่ยาวจนไปกดหรือเกี่ยวคลองประสาทและเส้นเลือดที่อยู่ในขากรรไกร ก่อให้เกิดอันตรายต่อเส้นประสาทและเส้นเลือดนั้นได้ ฉะนั้นจึงควรผ่าฟันคุดออกก่อนที่จะเกิดความทรมานดังกล่าว 4. ช่วยรักษารากฟันและกระดูกฟัน การผ่าฟันคุดออกตั้งแต่เนิ่น ๆ จะช่วยป้องกันการละลายตัวของกระดูกรอบรากฟัน รวมทั้งยังช่วยรักษารากฟันข้างเคียงที่ติดอยู่กับฟันคุดด้วย เพราะหากถอนฟันคุดล่าช้าเกินไป แรงดันของฟันคุดที่พยายามจะดันตัวเองขึ้นมาอาจส่งผลกระทบให้กระดูกรอบรากฟันและรากฟันในบริเวณนั้น ๆ และส่วนที่ใกล้เคียงถูกทำลายได้ 5.

ฟันคุด มีกี่แบบ?? - FunDeeDee

  1. ถอนฟันคุด เป็นอย่างไร? ตอบทุกข้อสงสัยการถอนฟันคุด | HD สุขภาพดี เริ่มต้นที่นี่
  2. Sport watch แนะ นํา
  3. ปวดฟันกรามมาก เวลาเคี้ยวหรือโดนยิ่งปวด เหมือนฟันโยก ต้องไปพบทันตแพทย์ไหม - ถาม พบแพทย
  4. ทำนายฝัน ต้นวาสนาออกดอก [1]
  5. ฟันคุด มีกี่แบบ?? - FunDeeDee
  6. ฟันคุด มีกี่แบบ สรุป ราคา & วิธีเตรียมตัวก่อน หลัง ผ่าฟันคุด | COSDENT

เพื่อป้องกันฟันข้างเคียงผุ ซอกฟันระหว่างฟันคุดกับฟันกรามซี่ที่ 2 ที่อยู่ชิดกันนั้น ทำความสะอาดได้ยาก เศษอาหารจะติดค้างอยู่ทำให้เกิดฟันผุได้ทั้งสองซี่ บางรายที่เป็นมากๆ อาจจะต้องเอาฟันทั้ง 2 ซี่นี้ออกเลยทีเดียว 4. เพื่อป้องกันการละลายตัวของกระดูก แรงดันจากฟันคุดที่พยายามดันขึ้นมาจะทำให้กระดูกรอบรากฟันหรือรากฟันข้างเคียงถูกทำลายไป ในรายที่ฟันข้างเคียงยังไม่ผุ การผ่าฟันคุดล่าช้าเกินไปจะทำให้กระดูกหุ้มรากฟัน และรากฟันซี่ข้างเคียงถูกทำลายหายไปอาจจะกระทบกระเทือนต่อการมีชีวิตของฟันซี่นั้นไปด้วย 5. เพื่อป้องกันการเกิดถุงน้ำ หรือเนื้องอกฟันคุดที่ทิ้งไว้นาน เนื้อเยื่อที่หุ้มรอบฟันคุดอาจจะขยายใหญ่ขึ้นกลายเป็นถุงน้ำแล้วโตขึ้นโดยไม่แสดงอาการเลย จนในที่สุดเกิดการทำลายฟันซี่ข้างเคียง และกระดูกรอบๆ บริเวณนั้น หากไม่เคยได้รับการตรวจฟันมักจะรู้ตัวอีกทีเมื่อเห็นใบหน้าเอียง หรือขากรรไกรข้างหนึ่งใหญ่กว่าอีกข้าง ซึ่งถ้าพบ และรีบทำการผ่าตัดออกได้เร็ว ช่วยลดการสูญเสียอวัยวะขากรรไกร ยังสามารถรักษารูปหน้าให้เหมือนเดิมได้ แต่ถ้าถุงน้ำหรือเนื้องอกมีขนาดใหญ่มากๆ ก็อาจต้องตัดขากรรไกรบางส่วนออกทำให้เสียรูปหน้าบริเวณนั้นได้ 6.

รีวิวถอนฟันคุด ที่ Deezy Dental Home | HDmall

ฟันผุทะลุโพรงประสาทฟันหรือฟันที่มีหนองปลายรากฟัน ไม่สามารถอุดหรือรักษาด้านอื่น ๆ ได้ 2. ฟันที่เป็นโรคปริทันต์รุนแรงรอบตัวฟัน จนไม่สามารถรักษาได้ 3. ฟันที่ต้องถอนเพื่อการใส่ฟัน 4. ฟันที่ได้รับอุบัติเหตุ ฟันแตก หรือรากฟันหัก ไม่สามารถอุดหรือรักษาคลองรากฟันได้ 5. ฟันที่มีพยาธิสภาพของกระดูกรอบ ๆ รากฟัน เช่น เกิดถุงน้ำหรือเนื้องอก 6.

ฟันคุดดันฟันกราม

1772 ต่อ ทันตกรรมและรากเทียมดิจิตอล

คำถามที่หลายคนอยากรู้ เพราะเท่าที่เห็น คนที่ไปผ่าคือคนที่มีอาการปวดแล้ว แต่ถ้าไม่ปวดล่ะ? จำเป็นต้องผ่าไหม?

สิ่งที่เราควรรู้ก่อนที่จะถอนฟันกราม - BPDC

ผลข้างเคียงหากมีการฉายรังสี บางรายที่เข้ารับการรักษาโรคฟันหรือโรคในช่องปากต่างๆด้วยการฉายรังสีรักษา (Ratiotherapy) หากบริเวณฉายรังสีอยู่ฟันคุดมักมีโอกาสที่เนื้อเยื่อเหงือกรอบฟันคุดเกิดการอักเสบได้ง่าย รวมถึงมีโอกาสทำให้รากฟันคุด และกระดูกด้านล่างตายได้ ดังนั้น หากถอนฟันคุดออกก่อนได้รับการฉายรังสีจะช่วยลดผลข้างเคียงของการรักษาด้วยรังสีในช่องปากได้ 7. เกิดอาการปวดบริเวณฟันคุด ฟันคุดที่เจริญขึ้นเกิดการดันแทรกฟันซี่ด้านข้าง รากฟันด้านข้างละลาย เกิดการตกค้างของเศษอาหารจนเกิดการอักเสบ หรือเกิดฟันผุ ผลที่ตามมา คือ เกิดอาการปวดขึ้นบริเวณเหงือกรอบฟันคุด และอาจมีอาการปวดรุนแรงจนถึงขมับเมื่อเกิดการอักเสบมาก อาการเหล่านี้ จะหายขาดได้เมื่อถอนฟันคุดออก 8. ฟันเกซ้อน แรงดัน และการเจริญของฟันคุดจะทำให้ฟันหน้าล่างเกซ้อนกันได้ ดังนั้น เพื่อป้องกันการเกซ้อนของฟัน จึงต้องถอนฟันคุดก่อนหรือหลังการจัดฟัน 9. ฟันคุดขัดขวางการจัดกระดูกขากรรไกร ฟันคุดที่เจริญบริเวณรอยหักของกระดูกขากรรไกร จะมีการขัดขวางการจัดกระดูกขากรรไกรให้เข้าที่ จึงต้องถอนฟันคุดออกก่อนที่กระดูกขากรรไกรจะเกิดการจัดรูปผิดปกติ การถอนฟันคุด เครื่องมือที่ใช้ในการผ่าตัดฟันคุด 1.

การบวม หลังการถอนฟันคุดมักเกิดอาการบวมของแผลบริเวณเหงือก และกระพุ้งแก้มโดยรอบ โดยเฉพาะหลังการถอนฟันในวันที่ 2 ซึ่งจะบวมมากที่สุด หลังจากนั้น แผล และเหงือกที่บวมจะเริ่มยุบตัวลง และหายเป็นปกติภายใน 1 สัปดาห์ ทั้งนี้ วิธีช่วยระงับหรือลดอาการบวม อาจใช้น้ำแข็งประคบก็สามารถช่วยได้เช่นกัน 3. การติดเชื้อ หลังการถอนฟันคุด หากอาการบวมไม่ยุบลง หรือพบอาการบวมมากขึ้น ซึ่งมักเกิดในช่วง 3-5 วัน หลังการถอนฟันคุดออก แสดงถึงการติดเชื้อ และเกิดการอักเสบ ผู้ป่วยมีอาการปวด และอาจมีไข้ร่วมด้วย ทั้งนี้ หากพบอาการดังกล่าว ให้เข้าพบแพทย์ทันที การติดเชื้อหลังการถอนฟันคุดมีสาเหตุในหลายด้าน อาทิ การทำความสะอาดอุปกรณ์หรือวัสดุที่ใช้ในการถอนฟันไม่สะอาดเพียงพอหรือหลังการถอนฟันมีการดูแลช่องปากไม่ดี ทำให้เกิดการติดเชื้อบริเวณแผล 4. Alveolar osteitis (dry socket) อาการนี้ มักพบกับการถอนฟันคุดของขากรรไกรล่างเป็นส่วนใหญ่ แต่ไม่พบในฟันคุดบน ซึ่งมีสาเหตุส่วนใหญ่มาจากการดูแลหลังการถอนฟันที่ไม่ดีพอ รวมถึงการติดเชื้อ 5. Pyogenic granuloma อาการนี้ มีสาเหตุสำคัญมาจากการทำความสะอาดแผลผ่าตัดก่อนเย็บปิดไม่ดีพอ รวมถึงไม่มีการเลาะขอบกระดูกที่แตกออกให้หมด ทำให้เกิดการติดเชื้อ และอักเสบภายในแผลเกิดขึ้น 6.