permaswap.exchange

permaswap.exchange

ตรวจ Pap Smear

Pap Smear (Pap Test) หรือแปปสเมียร์ เป็นหนึ่งในขั้นตอนการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก โดยจะเก็บตัวอย่างเซลล์บริเวณปากมดลูกเพื่อนำมาหาความผิดปกติ ซึ่งถือเป็นวิธีการตรวจที่ปลอดภัย มีผลข้างเคียงน้อย ประหยัดเวลา และมีราคาไม่สูง การเข้ารับการตรวจแปปสเมียร์เป็นประจำอาจช่วยให้พบเซลล์ผิดปกติที่เป็นสาเหตุของโรคมะเร็ง อีกทั้งจะเพิ่มโอกาสในการรักษาโรคมะเร็งปากมดลูกที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตหรือป้องกันโรคได้อย่างทันท่วงที โดยปกติแล้ว การตรวจคัดกรอง โรคมะเร็งปากมดลูก สามารถเริ่มตรวจตั้งแต่อายุ 21 ปีขึ้นไป หรือเมื่อเริ่มมีเพศสัมพันธ์ และควรเข้ารับการตรวจบ่อยขึ้นเมื่ออายุมากขึ้น Pap Smear ควรตรวจบ่อยแค่ไหน?

Images

ผู้หญิงที่มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย 2. ผู้หญิงทั่วไปที่มีเพศสัมพันธ์ 3. ผู้หญิงที่มีคู่นอนหลายคน หรือมีเพศสัมพันธ์กับชายที่มีคู่นอนหลายคน 4. ผู้หญิงที่ไม่เคยมีเพศสัมพันธ์ ควรเริ่มตรวจเมื่ออายุ 35 ปีขึ้นไป 5. ผู้หญิงที่มีพฤติกรรม หรือโรคประจำตัวที่ทำให้ภูมิต้านทานต่ำ เช่น สูบบุหรี่ เป็นโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง ฯลฯ 6. ผู้หญิงที่มีตกขาวผิดปกติ หรือมีเลือดออกผิดปกติ 7. ผู้หญิงที่เว้นว่างการตรวจมาระยะหนึ่ง 8. ผู้หญิงวัยหมดประจำเดือน มีข้อแนะนำและข้อห้ามที่คุณควรทราบ เพื่อให้การตรวจเป็นไปอย่างราบรื่นและให้ผลแม่นยำที่สุด ดังนี้ 1. ควรตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกในช่วงที่ไม่มีประจำเดือน หรือตรวจช่วง 5-7 วันหลังประจำเดือนหมด 2. ห้ามใช้ยาเหน็บช่องคลอด ครีม เจลหล่อลื่น หรือยาฆ่าเชื้ออสุจิในช่องคลอด ก่อนการตรวจ 48 ชั่วโมง 3. ห้ามสวนล้างช่องคลอด หรือมีเพศสัมพันธ์ก่อนการตรวจ 48 ชั่วโมง ห้ามมีเพศสัมพันธ์ก่อนการตรวจ 48 ชั่วโมง ควรตรวจ เนื่องจากวัคซีนไม่สามารถป้องกันเชื้อไวรัส HPV ที่ก่อให้เกิดมะเร็งปากมดลูกได้ทุกสายพันธุ์ มะเร็งปากมดลูกแม้จะเป็นโรคร้าย แต่สามารถรักษาให้หายขาดได้ หากตรวจพบเร็วตั้งแต่ระยะเริ่มแรก ผู้หญิงทุกคนจึงควรเข้ารับการตรวจมะเร็งปากมดลูกอย่างสม่ำเสมอเพื่อให้มั่นใจว่าปลอดภัยจากโรคนี้แน่

ตรวจ pap smear guidelines

ยา 2022 วิดีโอ: ผลการตรวจ Pap Smear LSIL หมายถึงอะไร?

73 of 10, จากจำนวนคนโหวต 128 คน บทความที่เกี่ยวข้อง จากข้อมูลสถิติทั่วโลกในปีพ. ศ.

ศ.

ตรวจมะเร็งปากมดลูก ราคาเท่าไร? ตรวจภายในที่ไหนดี? รวมสถานที่และราคาปี 2565 ที่ HDmall.co.th

  • ตรวจ pap smear cost
  • ตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบใหม่ / Thin Prep PAP smear - gloveclinic
  • Thaiclinic.com  I  Question-Mall  I pap smear คืออะไร
  • การตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  • ตรวจ pap smear test
  • ตรวจ pap smear video

ระยะห่างของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก ถ้าเป็นการตรวจด้วย conventional Pap smear ควรทำทุกปี แต่ถ้าตรวจด้วย liquid-based cytology ควรตรวจทุก 2 ปี 3. ถ้าผลการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูก เป็นปกติติดต่อกัน 3 ครั้ง และสตรีนั้นไม่มีปัจจัยเสี่ยงอื่น ๆ ต่อการเกิดมะเร็ง ปากมดลูก เช่น ประวัติเคยได้รับ diethylstilbestrol (DES) ตั้งแต่อยู่ในครรภ์, มีการติดเชื้อ HIV หรือมีภูมิต้านทานบกพร่อง จากการปลูกถ่ายอวัยวะ หรือได้รับยาเคมีบำบัด, สูบบุหรี่, มีคู่นอนหลายคน, มีเพศสัมพันธ์ตั้งแต่อายุยังน้อย เป็นต้น อาจจะเว้นระยะ ห่างของการตรวจคัดกรองโรคมะเร็งปากมดลูกเป็นทุก 2-3 ปี 4. ในผู้ป่วยที่ภูมิคุ้มกันต่ำ เช่น ได้รับการปลูกถ่ายอวัยวะ, รับยาเคมีบำบัด, รับยา steroid อย่างต่อเนื่องหรือติดเชื้อ HIV ควรได้รับการตรวจปีละ 2 ครั้งในปีแรก หลังจากนั้นปีละ 1 ครั้ง 5.

ตรวจ pap smear tests

วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกแปปเสมียร์ (Pap smear) เป็นการตรวจที่แพทย์จะใช้ไม้พายเก็บเนื้อเยื่อบริเวณปากมดลูก ก่อนนำไปตรวจในห้องปฏิบัติการ วิธีนี้เป็นวิธีที่ใช้กันมานาน เป็นวิธีการตรวจที่ราคาไม่สูง แต่ด้านความแม่นยำอาจไม่มากนัก อยู่ที่ประมาณ 50% 2. วิธีการตรวจมะเร็งปากมดลูกตินเพร็พ (ThinPrep) วิธีนี้พัฒนามาจากวิธีแปปเสมียร์ มีประสิทธิภาพและความแม่นยำอยู่ที่ประมาณ 90-95% โดยเก็บเซลล์บริเวณปากมดลูกด้วยอุปกรณ์เฉพาะ จากนั้นใส่ลงในขวดน้ำยาตินเพร็พ ก่อนส่งตรวจผลในห้องปฏิบัติการ 3.

1996 (พ. 2539) การตรวจ ThinPrep Pap Test ก็ได้รับการรับรองจากองค์การอาหารและยาแห่งสหรัฐอเมริกาว่า เป็นการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบมาตรฐานอีกวิธีหนึ่ง นอกเหนือจากการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีแปปสเมียร์ดั้งเดิม ใช้เวลาตรวจประมาณ 15-20 นาที และรู้ผลภายใน 3 สัปดาห์หลังวันเก็บตัวอย่างเซลล์ ความจริงแล้วทั้งการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกแบบแปปสเมียร์และแบบ LBC หรือที่รู้จักกันในชื่อ ThinPrep Pap Test นั้นเป็นการตรวจที่เป็นมาตรฐาน แต่การตรวจแบบหลังเป็นวิธีที่ใหม่กว่า และมีข้อที่เหนือกว่าการตรวจคัดกรองแบบแปปสเมียร์ดังนี้ 1. เก็บตัวอย่างเซลล์ได้มากกว่า ลดปัญหาการเก็บตัวอย่างมาไม่เพียงพอสำหรับตรวจวิเคราะห์ 2. ในกระบวนการตรวจ มูกและเลือดจะถูกกำจัดออกไป ลดปัญหาสิ่งบดบังเซลล์ ทำให้เห็นตัวอย่างเซลล์ชัดเจนขึ้น 3. ลดอัตราการเกิดผลลบลวง 4. นักเซลล์วิทยาใช้เวลาแปลผลสั้นกว่า 5. สามารถนำสิ่งส่งตรวจที่เป็นของเหลวไปตรวจหาเชื้อ HPV ต่อได้ ไม่ต้องเก็บตัวอย่างซ้ำ สถาบันมะเร็งแห่งชาติ กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข แนะนำการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูกด้วยวิธีตรวจเซลล์วิทยา ทั้งแบบแปปสเมียร์ดั้งเดิมและ Liquid-based cytology ดังนี้ 1.