permaswap.exchange

permaswap.exchange

จน สิ้นสุด ความ เป็น ผู้ ประกัน ตน คือ

1. ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 คือ ใคร คำตอบ: ผู้ที่ทำงานเป็นลูกจ้าง บริษัท / เจ้าของกิจการ / ร้านค้า ที่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม 2. ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 จะได้รับสิทธิกรณีใดบ้าง สำหรับกองทุนเงินประกันสังคมจะได้รับสิทธิ 1. กรณีประสบอันตราย หรือเจ็บป่วยไม่เนื่องจากการทำงาน 2. กรณีคลอดบุตร 3. กรณีทุพพลภาพ 4. กรณีเสียชีวิต 5. กรณีสงเคราะห์บุตร 6. กรณีชราภาพ 7. กรณีว่างงาน สำหรับ กองทุนเงินทดแทน จะได้รับสิทธิกรณีประสบอันตรายเจ็บป่วนเนื่องจากการทำงาน, ทุพพลภาพเนื่องจากการทำงาน, กรณีเสียชีวิตเนื่องจากการทำงาน 3. บุคคลตามมาตรา38 คือใคร เป็นผู้ประกันตนตามมาตรา33 ซึ่งลาออกจากงานไม่เกิน 6 เดือน และภายใน 6 เดือนยังไม่สมัครเป็นผู้ประกันตนตามตรา 39 4. บุคคลตามมาตรา38 สามารถยกเลิกการใช้สิทธิคุ้มครองก่อน 6 เดือน ได้หรือไม่ บุคคลตามมาตรา38 ไม่สามารถยกเลิกสิทธิคุ้มครองก่อนครบระยะเวลา 6 เดือนได้ 5. บุคคลตามมาตรา38 ได้รับการคุ้มครองกรณีใดบ้าง กรณีเจ็บป่วยหรือประสบอันตราย กรณีคลอดบุตร กรณีทุพพลภาพ กรณีเสียชีวิต 6. ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 คือใคร ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 / ผู้ที่ลาออกจากการทำงานที่มีการ นำส่งเงินสมทบ กับสำนักงานประกันสังคม 7.

การรักษาสิทธิที่พึงได้รับความคุ้มครองจาก “กองทุนประกันสังคม”

ผู้ที่มีสิทธิสมัครเป็น ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ต้องมีคุณสมบัติอย่างไร เคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 และส่งเงินสมทบมาแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน จะติดต่อกันหรือไม่ก็ตาม 8. ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 จะได้รับสิทธิประโยชน์กรณีใดบ้าง กรณีประสบอันตรายหรือเจ็บป่วย, กรณีคลอดบุตร, กรณีสงเคราะห์บุตร, กรณีทุพพลภาพ กรณีเสียชีวิต, กรณีชราภาพ 9. ติดต่อสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ได้ ที่ไหน สำนักงานประกันสังคมที่สะดวกทุกแห่ง ยกเว้นสำนักงานใหญ่บริเวณกระทรวงสาธารณสุข 10. การสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39สำหรับคนไทยต้องใช้เอกสารใดบ้าง แบบคำขอเป็น ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ( สปส. 20, บัตรประชาชนตัวจริงหรือบัตรอื่นที่มีรูปถ่ายซึ่งราชการออกให้ 11. หากได้รับอนุมัติเป็นผู้ทุพพลภาพ แล้วยังมีสิทธิเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 หรือไม่ เมื่อได้รับการอนุมัติเป็นผู้ทุพพลภาพแล้วไม่สามารถเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 ได้อีก 12. ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 สามารถนำเงินมาลดหย่อนภาษีได้หรือไม่ เงินสมทบผู้ประกันตนตามมาตรา39 สามารถนำไปลดหย่อนภาษีประจำปีได้ 13. หากต้องการลาออกจากการเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา39 จะต้องทำอย่างไร กรอกแบบแจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนโดยสมัครใจ (สปส.

9-02 และสำเนาบัตรประจำตัวประชาชน (คลิกดาวน์โหลด) พร้อมกรอกข้อมูลต่าง ๆ ให้เรียบร้อยแล้ว ก่อนนำไปยื่นที่สำนักงานประกันสังคมกรุงเทพมหานครพื้นที่/จังหวัด/สาขา ทุกแห่งทั่วประเทศ หลังจากยื่นเรื่องย้ายโรงพยาบาลประกันสังคม 2564 แล้ว ผู้ประกันตนจะรู้ผลภายใน 3 วันว่าเราสามารถเปลี่ยนโรงพยาบาลประกันสังคมได้หรือไม่ โดยสามารถเช็กผลผ่านเว็บไซต์ หรือผ่านแอปพลิเคชั่น SSO Connect – เอกสารสำหรับขอเปลี่ยนสถานพยาบาล ประกันสังคม – กรอกแบบขอบัตรรับรองสิทธิการรักษาพยาบาล สปส.

ผู้ประกันตนตามมาตรา 33,39,40 คือใคร|ผู้ประกันตนตามมาตรา 33,39,40 คือใ

ศ. 2533 จะเขียนกว้างๆ เช่น "…ให้นางสาว ก. เป็นผู้มีสิทธิได้รับเงินจากกองทุนประกันสังคมแต่เพียงผู้เดียว" ถือว่าไม่ถูกต้อง (3) ความถูกต้องของหนังสือ: ต้องละเอียดรอบคอบในการเขียน โดยระบุวัน เดือน ปี ที่ทำหนังสือ เลขบัตรประจำตัวประชาชน ชื่อและลายมือชื่อทั้งผู้ประกันตนและผู้มีสิทธิ โดยไม่ต้องมีพยานรับรองก็ได้ เว้นแต่กรณีที่ผู้ประกันตนไม่อาจลงลายมือชื่อได้ แต่ใช้วิธีพิมพ์ลายนิ้วมือ แกงได (รอยขีดเขียนซึ่งบุคคลทำไว้เป็นสำคัญแทนการลงลายมือชื่อในทางกฎหมาย ถ้าจะให้มีผลเสมอกับลงลายมือชื่อต้องมีพยานลงลายมือชื่อรับรอง 2 คน หรือได้ทำต่อหน้าพนักงานเจ้าหน้าที่: พจนานุกรมราชบัณฑิตยสถาน พ.

กรอบ สวย ๆ ๆ

8.3 ผู้ประกัน - krubolaborlaw

สำนักงานประกันสังคม query_builder 5 มิถุนายน 2562 remove_red_eye - นายอนันต์ชัย อุทัยพัฒนาชีพ เลขาธิการสำนักงานประกันสังคม กระทรวงแรงงาน กล่าวถึงการดำเนินงานติดตามนายจ้างให้ดำเนินการแจ้งขึ้นทะเบียนและแจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนให้เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. ศ. 2533 ว่า สำนักงานประกันสังคมได้เร่งดำเนินการติดตามให้สถานประกอบการเพื่อให้มาปฏิบัติให้ถูกต้องตามกฎหมายดังกล่าว ในช่วงระหว่างเดือน ม. ค. – ธ. 61 ที่ผ่านมา พบสถานประกอบการละเลยการแจ้งขึ้นทะเบียนและแจ้งสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน ซึ่งไม่เป็นไปตามพระราชบัญญัติประกันสังคม พ. 2533 จำนวน 261, 974 แห่ง ผู้ประกันตนจำนวน 1, 115, 721 ราย แบ่งเป็นสถานประกอบการที่ไม่ใช่ส่วนราชการ จำนวน 244, 966 แห่ง ผู้ประกันตนจำนวน 1, 061, 123 ราย และสถานประกอบการที่เป็นส่วนราชการ จำนวน 17, 008 แห่ง ผู้ประกันตนจำนวน 54, 598 ราย อย่างไรก็ตาม สำนักงานประกันสังคมได้มีแนวทางมาตรการเร่งด่วน โดยได้ดำเนินการกับนายจ้างที่ไม่ได้แจ้งการแจ้งขึ้นทะเบียนและแจ้งสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนอย่างเคร่งครัด คือ ออกหนังสือเชิญพบ หากพบว่านายจ้างมีเจตนา ให้ดำเนินการปรับหรือเปรียบเทียบปรับตามขั้นตอนของกฎหมาย ทั้งนี้ นายจ้างซึ่งมีลูกจ้างทำงานในสถานประกอบการตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป ต้องแจ้งขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส.

33 และม. 39 ที่มีความประสงค์จะเปลี่ยนสถานพยาบาลสามารถยื่นแบบเลือกสถานพยาบาลในการรับบริการทางการแพทย์(สปส. 9-02) โดยยื่นต่อสำนักงานประกันสังคมหรือยื่นแบบทางอิเล็กทรอนิกส์ ส่วนผู้ประกันตนมาตรา 33 ม.

ผู้ประกันตนต้องรู้!! เราเป็นผู้ประกันตนมาตราอะไร (มาตรา 33-38-39-40) ใช้สิทธิอย่างไร – siamzoneza

  1. วิเคราะห์บอล ลาลีกา เอสปันญ่อล VS เซลต้า บีโก้ 10 เมษายน 2565
  2. JACK SPADE CAMO TOTE กระเป๋าที่ตอบโจทย์ทุกไลฟ์สไตล์ของผู้ชายเมือง » Unlockmen
  3. ถุงร้อนเนื้อ PP (ใส)
  4. ตะกรุด ความ รัก ย้อน หลัง
  5. ดูการ์ตูนออนไลน์ Marvel's Spider-Man 2017 พากย์ไทย EP1 - EP26 [จบ] - DoDoNung.com
  6. ผู้ประกันตนต้องรู้!! เราเป็นผู้ประกันตนมาตราอะไร (มาตรา 33-38-39-40) ใช้สิทธิอย่างไร – siamzoneza
  7. รถกระป๋องตราเพชร จัดงานประกาศผลการประกวดและพิธีมอบรางวัล “การแข่งขัน Flash Dash ดริฟท์สายฟ้าแชมเปี้ยนชิพ ครั้งที่ 3” | Positioning Magazine
  8. "เดอะ คอฟฟี่ คลับ" เอาใจแซลมอนเลิฟเวอร์ เปิดตัว "ซัมเมอร์ ซีฟู้ด เฟสติวัล"
  9. มองหา Router งบไม่เกิน 2 พันบาท สำหรับใช้งานทั่วไปในเครือข่าย AIS Fiber - Overclockzone.com ชุมชนคนไอที ที่ใหญ่ที่สุดในเมืองไทย
  10. คิ้ว บัว ติด ผนัง

1-21) ยื่นเรื่องสำนักงานประกันสังคมที่สะดวกทุกแห่ง ยกเว้น สำนักงานใหญ่บริเวณกระทรวงสาธารณสุข 14. เป็นผู้ประกันตนมาตรา39 แล้วกลับไปทำงานเปลี่ยนเป็นมาตรา33 ได้ออกจากงานแล้ว อยากจะส่งเงินสบทบต่อ ต้องไปแจ้งใหม่อีกรอบใหม่หรือไม่ หากออกจากงานสิทธิคุ้มครองต่ออีก 6 เดือนนับตั้งแต่วันที่ลาออก และให้สมัครเป็น ผู้ประกันตนมาตรา39 ต่อไปได้เลย 15. คนไทยที่สนใจสมัครผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ต้องมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง 1. มีอายุตั้งแต่ 15 ปีบริบูรณ์ ถึง 60 ปีบริบูรณ์ 2. ต้องมีบัตรประจำตัวประชาชนและมีสัญชาติไทย หรือบัตรอื่นที่ทางราชการออกให้แทนบัตรประจำตัวประชาชน 3. หากเป็นบุคคลซึ่งเป็นผู้พิการ ให้ระบุลักษณะหรืออาการของผู้พิการโดยละเอียด ยกเว้นผู้พิการทางสมองหรือสติปัญญา ไม่สามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 4. ไม่เป็นผู้ ประกันตนมาตรา 33, ผู้ประกันตนมาตรา 39 และไม่เป็นบุคคลที่ยกเว้นตามกฎหมายประกันสังคม 16. คนต่างด้าวที่สนใจสมัครผู้ประกันตนตามมาตรา 40 ต้องมีคุณสมบัติอย่างไรบ้าง 2. เป็น คนต่างด้าว ซึ่งเป็นชนกลุ่มน้อย ที่มีถิ่นที่อยู่หรือได้รับการผ่อนผันให้พักอาศัยอยู่ในราชอาณาจักรเป็นกรณีพิเศษของบุคคลซึ่งไม่มีสัญชาติไทย ที่มี "บัตรประจำตัวคนซึ่งไม่มีสัญชาติไทย" ที่ขึ้นต้นด้วยเลข 0, 6, 7 สามารถขึ้นทะเบียนได้ มีผลตั้งแต่วันที่ 3 ธันวาคม 2555 4.

ประกันสังคม เอาจริงนายจ้างเมินขึ้นทะเบียน แจ้งสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนล่าช้า ระวัง มีโทษเทียบปรับตามกฎหมาย

ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 คือลูกจ้างที่เคยเป็นผู้ประกันตนมาก่อนแล้วไม่น้อยกว่า 12 เดือน ต่อมาได้พ้นสภาพจากการเป็นลูกจ้าง และประสงค์จะเป็นผู้ประกันตนต่อไป ให้แจ้งความจํานงขอเงิน ผู้ประกันตนต่อได้ที่สํานักงานประกันสังคม ภายใน 6 เดือน นับแต่วันที่พ้นจากการเป็นผู้ประกันตน 3. ผู้ประกันตนตามมาตรา 40 คือบุคคลที่ไม่ได้เป็นลูกจ้างมาก่อนแต่สมัครใจเข้ามาเป็น ผู้ประกันตน ด้วยการแสดงความจํานงต่อสํานักงานประกันสังคม ผู้ประกันตนประเภทนี้ อาจเรียกว่า ผู้ประกันตนนอกระบบก็ได้

จน สิ้นสุด ความ เป็น ผู้ ประกัน ตน คือ อะไร

บุคคลล้มละลายสามารถสมัครเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา40 ได้หรือไม่ บุคคลล้มละลายสามารถสมัครผู้ประกันตนตามมาตรา40 ได้ ถ้ามีคุณสมบัติเป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนไข 21. ในกรณีผู้ประกันตนตามมาตรา40 กลับเข้าทำงานเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 จะต้องลาออกจากการเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 หรือไม่ หากผู้ประกันตนตามมาตรา 40 กลับเข้าทำงานเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ยังคงมีสถานะเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 อยู่ ผู้ประกันตนตามตรา 40 จะลาออกหรือไม่ก็ได้ ขึ้นอยู่กับความประสงค์ของผู้ประกันตน เนื่องจากหากผู้ประกันตนไม่ลาออก หากวันใดที่ผู้ประกันตนสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ก็ยังสามารถกลับมาเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 40 โดยไม่ต้องสมัครใหม่ 22. ผู้ประกันตนตามมาตรา40 ลาออก จะได้รับความคุ้มครอง 6 เดือน ต่อหรือไม่ หากลาออกจากมาตรา40 จะไม่ได้รับความคุ้มครองต่อ 6 เดือน เหมือนกับ ผู้ประกันตนตามาตรา 33 และ ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 23. หากผู้ประกันตนตามมาตรา40 ได้รับการคืนสิทธิเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 39 จะต้องนำส่งเงินสมทบของผู้ประกันตนทั้ง 2 มาตรา หรือไม่ จะต้องนำส่งเงินสมทบของผู้ประกันตนตามมาตรา 39 เท่านั้น ไม่สามารถนำส่งเงินสมทบพร้อมกันทั้ง 2 มาตรา ได้ 24.