permaswap.exchange

permaswap.exchange

เจ้าพ่อ พญา แล ชัยภูมิ

  1. จังหวัดชัยภูมิ: ประวัติเจ้าพ่อพญาแล
  2. ศาลเจ้าพ่อพญาแล | +++จังหวัดชัยภูมิ+++
  3. อําเภอ
  4. ผู้ว่าแถลงขอรับเองขอชาวชัยภูมิยุติความขัดแย้งจากภาพดราม่า
  5. ฮือฮา 2 สามีภรรยาถวายหัวหมู100หัวแก้บนเจ้าพ่อพญาแล
  6. ภาษาอังกฤษ

2511 ทางราชการได้สร้างศาลขึ้นใหม่ ให้ชื่อว่า "ศาลพระยาภักดีชุมพล (แล)" และจัดให้มีงานสักการะเจ้าพ่อพญาแลทุกปี โดยเริ่มจากวันพุธ แรกของเดือน 6 เป็นเวลา 7 วัน เรียกว่า "งานเทศกาลบุญเดือนหก ระลึกถึงความดีของ เจ้าพ่อพญาแล" ถือเป็นงานใหญ่ประจำปีของชาวชัยภูมิ และใน พ.

จังหวัดชัยภูมิ: ประวัติเจ้าพ่อพญาแล

เจ้าพ่อ พญา แล ชัยภูมิ อําเภอ

ศาลเจ้าพ่อพญาแล | +++จังหวัดชัยภูมิ+++

2475 นายช่วย นนทะนาคร ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยภูมิในสมัยต่อมา ได้ริเริ่มสร้าง "อนุสาวรีย์เจ้าพ่อพระยาแล" ขึ้นที่บริเวณสี่แยกถนนหน้าศาลากลางจังหวัดชัยภูมิ โดยแล้วเสร็จในปีนั้น และกำหนดให้มี 'การฉลองอนุสาวรีย์เจ้าพ่อพระยาแล' เป็นประเพณีสืบทอดกันต่อมาในวันที่ 12 มกราคมของทุกปี... เหรียญเจ้าพ่อพญาแล ปี 21 ด้วยวีรกรรมความกล้าหาญของท่าน ทำให้ผู้คนเคารพเลื่อมใสศรัทธา จึงมีการจัดสร้าง ´เหรียญเจ้าพ่อพญาแลรุ่นแรก ปี พ. 2521´ เป็นเนื้อทองแดง หูในตัว ด้านหน้า ยกขอบเส้นลวดนูนรอบเหรียญหนึ่งเส้น ตรงกลางเป็นรูปเหมือนของท่าน หน้าตรงครึ่งตัว แต่งเต็มยศเยี่ยงขุนนางไทย สวมเสื้อลายกนก มีอักษรไทยด้านล่างว่า ´เจ้าพ่อพญาแล´ ด้านหลัง ยกขอบเส้นลวดนูนขึ้นหนึ่งเส้น ตรงกลางมี 'ยันต์น้ำเต้า' ขมวดหัวยันต์ มีอักษรขอม 'มะ อุ อะ' ชัก 'ยันต์อุณาโลม' 3 ตัว ขมวดหัวยันต์ ประดิษฐานอักษรขอมหัวใจพระเจ้าห้าพระองค์ 'นะ โม พุท ธา ยะ´ กลางยันต์มีอักษรขอมเป็นตัว 'มิ' ด้านล่าง เป็นอักษรขอม ´พุทธะสังมิ´ และ ´๒๕๒๑´ มีอักษรไทยโค้งตามเหรียญว่า ´พระยาภักดีชุมพล(แล) จังหวัดชัยภูมิ' เหรียญเจ้าพ่อพญาแลรุ่นแรก ปี พ. 2521 นี้ ตอนสร้างมีการประกอบพิธีชัยมังคลาภิเษกอย่างเข้มขลัง ด้วยคุณูปการคุณงามความดีของท่าน และปรากฏเรื่องราวอัศจรรย์ที่ท่านคอยปกปักรักษาผู้คนให้อยู่เย็นเป็นสุข จึงเป็นเหรียญที่ได้รับความนิยมสะสมและแสวงหามาก โดยเฉพาะในจังหวัดชัยภูมิและพื้นที่ใกล้เคียง นับเป็นเหรียญมงคลเหรียญหนึ่งที่น่าเก็บสะสมไว้ครับผม โดย อาจารย์ราม วัชรประดิษฐ์ แฟนพันธุ์แท้พระเครื่อง Share:

อําเภอ

จังหวัดชัยภูมิ 1 ใน 55 เมืองรอง หรือ GoLocal ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท. ) ที่มีความหลากหลายทางด้านแหล่งท่องเที่ยว โดยเฉพาะที่โดดเด่นและดึงดูดผู้คนมาเยือนไม่ขาดสายคงต้องยกให้ "ทุ่งดอกกระเจียว" ที่สวยสดงดงามในช่วงต้นฤดูฝน หรือ "มอหินขาว" เสาหินทรายสีขาวรูปทรงมหัศจรรย์แปลกตา รวมทั้งยังมีอุทยานแห่งชาติป่าหินงาม อุทยานแห่งชาติไทรทอง อุทยานแห่งชาติภูแลนคา จุดชมวิวผาเกิ้ง... ฯลฯ ซึ่งคนรักธรรมชาติต่างชื่นชม เท่านั้นยังไม่พอ เมืองเจ้าพ่อพญาแลแห่งนี้ ยังมีกิจกรรมและประเพณีสอดแทรกให้เที่ยวตลอดทั้งปีเชิญชวนให้ทุกคนมาเปิดประสบการณ์เรียนรู้ได้ทุกวัน ไม่ว่าจะเป็นวันหยุดหรือวันธรรมดา นางรุ่งทิพย์ บุกขุนทด ผู้อำนวยการสำนักงาน ททท. สำนักงานนครราชสีมา (รับผิดชอบพื้นที่นครราชสีมาและชัยภูมิ) กล่าวว่า จังหวัดชัยภูมิ ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และ ททท.

ผู้ว่าแถลงขอรับเองขอชาวชัยภูมิยุติความขัดแย้งจากภาพดราม่า

2365 ขุนภักดีชุมพล (แล) จึงได้อพยพผู้คนมาตั้งถิ่นฐานที่ บ้านหลวง ซึ่งอยู่ในบริเวณ บ้านหนองหลอด และ บ้านหนองปลาเฒ่า ในปัจจุบัน และไม่ยอมส่งส่วนให้เจ้าอนุวงศ์ผู้ครองเมืองเวียงจันทน์อีก เพราะขณะนั้นเมืองเวียงจันทน์มีฐานะเป็นเมืองประเทศราชของสยาม ขุนภักดีชุมพลจึงได้เข้าหาเจ้าพระยานครราชสีมาแทน เจ้าเมืองนครราชสีมารับอาสาส่งส่วยให้สยามแล้วทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว ต่อมาพระองค์โปรดเกล้าฯ ยกให้บ้านหลวงเป็นเมืองชัยภูมิ และตั้งขุนภักดีชุมพลเป็น พระยาภักดีชุมพล เจ้าเมืองชัยภูมิคนแรก ในปี พ. 2369 ได้เกิดศึกเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทน์ยกทัพเข้ายึดเมืองนครราชสีมา พระยาภักดีชุมพล (แล) และเจ้าเมืองสี่มุม (อ. จัตตุรัส จ. ชัยภูมิ ในปัจจุบัน) ได้ยกทัพไปช่วยคุณหญิงโมตีกองทัพเจ้าอนุวงศ์แตกพ่ายไป แต่ในขณะที่ทัพเจ้าอนุวงศ์กำลังแตกพ่ายนั้น เจ้าอนุวงศ์ได้สั่งให้ เจ้าสุทธิสาร (โป๋) ผู้เป็นบุตร ยกกองทัพส่วนหนึ่งไปยึดเมืองชัยภูมิและเมืองภูเขียว (อ. ภูเขียว จ.

ฮือฮา 2 สามีภรรยาถวายหัวหมู100หัวแก้บนเจ้าพ่อพญาแล

งานประเพณีบวงสรวงเจ้าพ่อพญาแล หรืองานบุญเดือนหก จัด ณ ศาลหนองปลาเฒ่า อ. เมือง จ. ชัยภูมิ ซึ่งจะจัดขึ้นในช่วงเดือนพฤษภาคม ชาวบ้านจะไปเคารพสักการะดวงวิญญาณและรำถวายเจ้าพ่อพญาแล ณศาลเจ้าพ่อหลังเก่า เพื่อความเป็นสิริมงคลกับชีวิตตนเองและครอบครัว เจ้าพ่อ "พญาแล" หรือ "พระยาแล" เดิมมีชื่อว่า "นายแล" เป็นชาวเวียงจันทร์ที่อพยพมาอยู่ในเขตพญาฝ่อ-ภูพังเหย ซึ่งปัจจุบันเรียกว่า บ่อขี้โล หรือ บ่อโข่โล่ หรือเขตแผ่นดินสุดของแอ่งโคราชเขตติดต่อกับจังหวัดเพชรบูรณ์ ต่อมานายแลได้นำทองคำที่ขุดได้ที่เขาพญาฝ่อไปถวายแด่รัชกาลที่ 3 และได้เลื่อนตำแหน่งขึ้นเรื่อยๆ สุดท้าย ได้มาอยู่ที่ จ. ชัยภูมิ และ ได้รับโปรดเกล้าฯ ให้เป็นเจ้าเมืองคนแรกของ จ. ชัยภูมิ โดยมีบรรดาศักดิ์เป็น "พระยาชุมพลภักดี(แล)" งานประเพณีบวงสรวงเจ้าพ่อพญาแล ถือเป็นวัฒนธรรมความเชื่อของชาวชัยภูมิและชาวไทยอีสาน ที่ยึดเป็นประเพณีและถือปฏิบัติสืบทอดกันมายาวนานจวบจนถึงปัจจุบัน โดยมขบวนแห่บายศรีที่ชาวบ้านต่างร่วมใจทำขึ้นมาเพื่อสักการะอย่างยิ่งใหญ่ ภายในงานมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย อาทิ การประกวดอาหารพื้นบ้าน การแข่งขันกีฬาพื้นบ้าน การประกวดขบวนบายศรี และจำหน่ายผลิตภัณฑ์พื้นบ้าน

ภาษาอังกฤษ

ศาลเจ้าพ่อพระยาแล ตั้งอยู่ริมหนองปลาเฒ่า ห่างจากตัวเมืองชัยภูมิราว 3 กม.

จังหวัดชัยภูมิ นับเป็นดินแดนโบราณคดีที่มีชุมชนหนาแน่นอยู่อาศัยมาตั้งแต่ครั้งก่อนประวัติศาสตร์ จากร่องรอยของการค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้ที่ทำด้วยหิน ภาพวาดเขียนสีตามผนังถ้ำ โครงกระดูกมนุษย์โบราณ ฯลฯ จึงเป็นข้อยืนยันได้ว่าดินแดนถิ่นนี้ได้มีพัฒนาการทางด้านสังคมขอมนุษย์ยุคก่อนประวัติศาสตร์มากว่า 2000-5000 ปี มาแล้ว ชุมชนโบราณที่รับวัฒนธรรมขอมสมัยเมืองพระนคร (พุทธศตวรรษที่ 16-18) บริเวณพื้นที่ลุ่มแม่น้ำชีตอนบนของเขตจังหวัดชัยภูมิ ได้มีการค้นพบโบราณวัตถและโบราณสถานที่เกี่ยวข้องกับวัฒนธรรมขอมสมัยเมืองพระนครอีกมากมาย เช่น ศิวลึงค์พระดิษฐานอยู่บนแท่นหินทราย ที่บริเวณภูโค้ง ต. นาเสียว อ. เมือง บาราย ( สระน้ำ) บริเวณปรางค์กู่ อ.

รำถวายเจ้าพ่อพญาแล ประจำปี พ. ศ. ๒๕๖๒ - YouTube

  1. ฮือฮา 2 สามีภรรยาถวายหัวหมู100หัวแก้บนเจ้าพ่อพญาแล
  2. Pp body massage รีวิว massage
  3. ผู้ว่าแถลงขอรับเองขอชาวชัยภูมิยุติความขัดแย้งจากภาพดราม่า
  4. สักการะ“เจ้าพ่อพญาแล” เที่ยวทั้งปีประเพณีชัยภูมิ
  5. โป เจั ก เตี ราคา มือสอง
  6. จังหวัดชัยภูมิ: ประวัติเจ้าพ่อพญาแล
  7. ThPRS : สมาคมศัลยแพทย์ตกแต่งแห่งประเทศไทย
  8. เจ้าพ่อ พญา แล ชัยภูมิ ภาษาอังกฤษ
  9. ประวัติเจ้าพ่อพญาแล - Supariya Pochana