permaswap.exchange

permaswap.exchange

ธรรมะ พระ ราชา

หมวดหมู่: แฟ้มบุคคล Tags: พระมหากษัตริย์ อาณาจักรสุโขทัย พระราชประวัติ พระมหาธรรมราชาที่ 3 พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 8 แห่งอาณาจักรสุโขทัย พระนามลำลอง / พระนามอื่น พระเจ้าไสลือ ไทย อาณาจักร/ราชวงศ์ อาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง พระราชสมภพ ไม่ปรากฏหลักฐาน พระราชบิดา พระมหาธรรมราชาที่ 2 พระราชมารดา สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา มหาดิลกรัตนราชนาถกรรโลง พระมเห สี ไม่ปรากฏพระนาม พระราชโอรส/ธิดา เสด็จขึ้นครองราชย์ พ. ศ. 1943 พระราชกรณียกิจ 1. ด้านการศานา ทรงให้คณะสงฆ์ปกครองกันเอง โดยให้คำตัดสินของสังฆราชเป็นที่สุด 2. ด้านการทหาร ทรงขยายอาณาจักร โดยยกทัพไปตีเมืองพะเยา เชียงราย และฝาง สวรรคต พ. 1962 ระยะเวลาครองราชย์ 19 ปี รัชกาล ก่อนหน้า รัชกาลถัดไป พระมหาธรรมราชาที่ 4 เกร็ดความรู้ เมื่อพระมหาธรรมราชาที่ 3 หรือพระเจ้าไสยลือไทยเสด็จสวรรคต หัวเมืองฝ่ายเหนือก็เกิดการปันป่วนเป็นอันมากและเกิดจลาจลขึ้นไปทั่ว สมเด็จพระอินทราชา พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 6 แห่งอาณาจักรอยุธยาจึงยกทัพขึ้นมาปราบปราม จนทุกเมืองยอมอ่อนน้อมและตกอยู่ในฐานะเมือง ประเทศ ราชของอยุธยาจนหมดสิ้น -------------- advertisements -------------- Comments

ภาษาญี่ปุ่น

ธรรมะแห่งพระราชา

หมวดหมู่: แฟ้มบุคคล Tags: พระมหากษัตริย์ อาณาจักรสุโขทัย พระราชประวัติ พระมหาธรรมราชาที่ 2 พระมหากษัตริย์ลำดับที่ 7 แห่งอาณาจักรสุโขทัย พระนามลำลอง / พระนามอื่น สมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราช อาณาจักร/ราชวงศ์ อาณาจักรสุโขทัย ราชวงศ์พระร่วง พระราชสมภพ พ. ศ. 1901 พระราชบิดา พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิ ไทย) พระราชมารดา สมเด็จพระราชชนนีศรีธรรมราชมาดา พระมเห สี สมเด็จพระราชเทวีศรีจุฬาลักษณ์ พระราชโอรส/ธิดา 1. สมเด็จรามราชาธิราช 2. สมเด็จพระศรีธรรมาโศกราช 3. พระมหาธรรมราชาที่ 3 4. พระมหาธรรมราชาที่ 4 เสด็จขึ้นครองราชย์ พ. 1911 พระราชกรณียกิจ 1. เผยแผ่ศาสนาไปยังอาณาจักรล้านนา 2. การสงครามกับอยุธยา แต่พ่ายแพ้ ต้องยอมเป็นเมืองขึ้นของอยุธยา สวรรคต พ. 1952 ระยะเวลาครองราชย์ 31 ปี รัชกาล ก่อนหน้า พระมหาธรรมราชาที่ 1 (พระยาลิไทย) รัชกาลถัดไป พระมหาธรรมราชาที่ ๓ เกร็ดความรู้ ในรัชสมัยของพระองค์นั้น งานด้านพระศาสนาเจริญรุ่งเรืองมาก แต่ด้านการสงครามกลับอ่อนแอลง จนต้องพ่ายแพ้ให้กับเมืองอยุธยา และต้องอ่อนน้อมให้กับอยุธยาอยู่เป็นเวลา 10 ปี คือช่วงปี พ. 1921 – พ. 1931 -------------- advertisements -------------- Comments

ตอน ที่

พุทธอุทยานเพชรปุระ ประชาชนชาวจังหวัดเพชรบูรณ์ พร้อมใจกันจัดสร้างพระพุทธมหาธรรมราชาจำลององค์ใหญ่ หล่อด้วยทองเหลืองขนาดหน้าตักกว้าง 11. 984เมตร ประดิษฐาน ณ พุทธอุทยานเพชบุระ จ. เพชรบูรณ์เพื่อถวายเป็นพระราชกุศล เนื่องในวโรกาสที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ทรงเจริญพระชนมายุ 84 พรรษา ในปี พ. ศ.

ออคิด

เพลงองค์พระใหญ่(พระพุทธมหาธรรมราชา) - YouTube

ธรรมะของรัชกาลที่ 5 พุทธราชา ปิยมหาราชแห่งปวงชนชาวสยาม

พระยาเลอไทย เป็นพระโอรสของพ่อขุนรามคำแหงมหาราช อาณาจักรสุโขทัยเริ่มเสื่อมอำนาจลงในรัชกาลนี้ หลายหัวเมืองต่างพากันตั้งตนเป็นอิสระ ทรงครองราชย์ได้ 25 ปี 5. พระยางั่วนำถุม เป็นพระโอรส พ่อขุนบานเมือง ครองราชย์ต่อมาอีก 24 ปี 7. พระมหาธรรมราชาที่ 1 (ลิไทย หรือ ลือไทย) เป็นพระโอรสของพระยาเลอไทย ทรงนำธรรมะในพระพุทธศาสนามาปกครองแผ่นดิน จึงมีพระนามว่า พระมหาธรรมราชา ทรงสนพระทัยศึกษาพระธรรมคำสอน และทรงออกผนวชระหว่างครองราชย์ที่วัดป่ามะม่วงในกรุงสุโขทัย ทรงสร้างวัดขึ้นหลายวัด และสร้างพระพุทธรูปสำคัญหลายองค์ รวมทั้งทรงพระนิพนธ์วรรณคดี"ไตรภูมิพระร่วง" อันถือได้ว่าเป็นคัมภีร์ทางพระพุทธศาสนาที่สำคัญ ทรงได้รับการยกย่องเป็น "ปราชญ์และธรรมราชา" ระหว่างการทรงครองราชย์ปี 1890 ถึงปี 1911 ในรัชกาลนี้ ได้มีการก่อตั้งอาณาจักรใหม่ของคนไทย คือ อยุธยา เมื่อ ปีพุทธศักราช 1893 7. พระมหาธรรมราชาที่ 2 เป็นพระโอรสของพระมหาธรรมราชาที่ 1 และพระศรีจุฬาลักษณ์ ได้ถูกอยุธยาเข้าโจมตีเมืองต่างๆ ของสุโขทัยหลายครั้ง จนในที่สุดก็ต้องยอมอ่อนน้อมต่อกรุงศรีอยุธยา เมื่อ ปี 1921 พระมหาธรรมราชาที่ 2 ทรงครองราชย์ระหว่างปีพุทธศักราช 1911 ถึง 1942 8.

ธรรมราชา (บาลีวันละคำ 1,611) – ธรรมธารา

  1. มือ ชา วิธี แก้
  2. บทความภาษาธรรม : ธรรมราชา
  3. ยาง maxxis presa el
  4. รู้จักเว็บนิมฺมโล - นิมฺมโล
  5. พระมหาธรรมราชาที่ 4

2554 บอกไว้ว่า – " ราช ๑, ราช –: (คำนาม) พระเจ้าแผ่นดิน, พญา (ใช้แก่สัตว์) เช่น นาคราช คือ พญานาค สีหราช คือ พญาราชสีห์, คํานี้มักใช้ประกอบกับคําอื่น, ถ้าคําเดียวมักใช้ว่า ราชา. " ธมฺม + ราชา = ธมฺมราชา > ธรรมราชา แปลตามศัพท์ว่า " พระราชาโดยธรรม " หรือ " พระราชาในธรรม " พจนานุกรมบาลี-อังกฤษ แปล " ธมฺมราชา " ว่า king of righteousness, Ep. of the Buddha; a king who gained the throne legitimately (เจ้าแห่งธรรม, เป็นคำแสดงคุณลักษณะของพระพุทธเจ้า; พระราชาซึ่งได้ราชบัลลังก์โดยชอบธรรม) " ธรรมราชา " คือใคร? : พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ ของท่าน ป. อ. ปยุตฺโต บอกไว้ว่า – ธรรมราชา: 1. " ผู้ยังชาวโลกให้ชื่นบานด้วย (นวโลกุตตร) ธรรม ", พระราชาแห่งธรรม, พระราชาผู้เป็นเจ้าแห่งธรรม, พระราชาโดยธรรม หมายถึงพระพุทธเจ้า 2. " ผู้ยังชาวโลกให้ชื่นบานด้วย (ทศกุศลกรรมบถ) ธรรม ", ราชาผู้ทรงธรรม, พระเจ้าจักรพรรดิ ตามคติแห่งพระพุทธศาสนา คือ ราชาผู้มีชัยชนะและครองแผ่นดินโดยธรรม ไม่ต้องใช้ทัณฑ์ ไม่ต้องใช้ศัสตราวุธ ………… สรุปว่า " ธรรมราชา " หมายถึง – (1) พระอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า (2) พระเจ้าจักรพรรดิหรือพระราชาผู้ทรงธรรมตามคติแห่งพระพุทธศาสนา พราหมณ์ผู้หนึ่ง รู้คัมภีร์มหาปุริสลักษณะ ได้เห็นพระรูปโฉมของพระพุทธองค์แล้วกราบทูลว่า พระองค์ควรจะไปเป็นพระเจ้าจักรพรรดิธรรมราชาดีกว่าอยู่เป็นสมณะเช่นนี้ พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า ราชาหมสฺมิ เสลาติ [ภควา] ธมฺมราชา อนุตฺตโร ธมฺเมน จกฺกํ วตฺเตมิ จกฺกํ อปฺปฏิวตฺติยํ.

ธนานุประทาน (ปันทรัพย์เฉลี่ยให้แก่ชนผู้ไร้ทรัพย์ มิให้มีคนขัดสนยากไร้ในแว่นแคว้น —Dhanānuppadāna: to let wealth be given or distributed to the poor) 5. ปริปุจฉา (ปรึกษาสอบถามปัญหากับสมณพราหมณ์ ผู้ประพฤติดี ปฏิบัติชอบ ผู้ไม่ประมาทมัวเมา อยู่เสมอตามกาลอันควร เพื่อให้รู้ชัดการอันดีชั่ว ควรประกอบหรือไม่ เป็นไปเพื่อประโยชน์สุขหรือไม่ แล้วประพฤติปฏิบัติให้เป็นไปโดยถูกต้อง ข้อนี้ปัจจุบันสงเคราะห์นักปราชญ์นักวิชาการผู้ทรงคุณธรรมเข้าด้วย — Paripucchā: to go from time to time to see and seek advice from the men of religious life who maintain high moral standards; to have virtuous counsellors and seek after greater virtue) (ดูเพิ่มเติม: พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม ของท่าน ป. ปยุตฺโต ข้อ 339) …………: อำนาจ อาจส่งให้เป็นผู้นำ: แต่ธรรม ส่งให้เป็นผู้นำที่ควรบูชา —————- (ตามคำชี้แนะของ Chakkrit Rachain Maneewan) 1-11-59 จำนวนผู้เข้าชม: 97

ธรรมราชา แปลว่า พระราชาแห่งธรรม พระราชาผู้ทรงธรรม เรียกเต็มว่า พระธรรมราชา ธรรมราชา ใช้หมายถึงพระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นพระราชาแห่งธรรม ทรงเป็นเจ้าของธรรม ทรงเป็นใหญ่ในธรรมที่ตรัสรู้ และใช้หมายถึง พระราชาผู้ทรงธรรม ผู้ทรงปฏิบัติ เช่น พระเจ้าจักรพรรดิเป็นต้น ทั้งพระพุทธเจ้าและพระราชาผู้ทรงธรรมทรงเป็นพระธรรมราชา เช่นที่ใช้ว่า "พระพุทธเจ้าผู้ทรงเป็นพระธรรมราชาส่องแสงสว่างยังไม่ได้เสด็จอุบัติขึ้นเพียงใด "ดูก่อนภิกษุ พระเจ้าจักรพรรดิผู้ทรงดำรงอยู่ในธรรม เป็นธรรมราชาในโลกนี้ ทรงอาศัยธรรมนั่นแล ทรงสักการะ เคารพ นอบน้อมธรรม…"

วันที่ 07 พ. ย. 2553 เวลา 15:44 น.